วงจร นโยบาย สาธารณะ

มติสมัชชาสุขภาพ: ตัวอย่างของ "นโยบายสาธารณะโดยสังคม"* นพ. พลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ แต่ก่อนเวลาเราพูดถึง "นโยบายสาธารณะ" เรามักจะนึกถึงแต่นโยบาย แผนงาน โครงการ หรือ กฎระเบียบอะไรก็ตามที่ออกมาโดยองค์กรภาครัฐ คือรัฐบาล หน่วยราชการหรือรัฐสภา ในฐานะผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดหรือตัดสินใจทางนโยบายของประเทศ เท่านั้น แต่จากประสบการณ์ 10 ปีของ สช. (สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ หน่วยงานในกำกับของนายกรัฐมนตรี) เราพบว่าในกระบวนการส่งเสริม-สนับสนุนการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมนั้น ยังมีนโยบายสาธารณะอีกแบบหนึ่งที่สังคมและชุมชนท้องถิ่น สามารถกำหนดและจัดทำกันได้เอง โดยไม่ต้องรอคอยหรือพึ่งพาอำนาจจากภายนอก ตัวอย่างรูปธรรมในเรื่องนี้ได้แก่ 1) การมีฉันทมติของที่ประชุมสมัชชาสุขภาพ 2) การประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาพของชุมชน และ 3) การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพของภาคประชาชน ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นผลงานและภารกิจหลักของ สช. ตาม พ. ร. บ. สุขภาพแห่งชาติ พ. ศ.

  1. มติสมัชชาสุขภาพ : ตัวอย่างของ “นโยบายสาธารณะโดยสังคม” | ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
  2. Page 51 - นโยบายสาธารณะ (Public Policy and Planing for Goverment Organization Management)
  3. ขั้นตอนแรกในวัฏจักรนโยบายสาธารณะคืออะไร?
  4. วงจรนโยบายสาธารณะ - GotoKnow

มติสมัชชาสุขภาพ : ตัวอย่างของ “นโยบายสาธารณะโดยสังคม” | ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ

เป็นเพียงผู้คอยสนับสนุนกระบวนการทำงานและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เท่านั้น สช. ได้เรียนรู้จากการทำงานใน 3 สถานการณ์ความจริง ได้แก่ 1) ภาคีเครือข่ายและสังคม ต่างมีความคาดหวังอย่างสูงว่าทุกมติสมัชชาฯจะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรม ในขณะที่ยังมีหลายมติที่ขาดเจ้าภาพขับเคลื่อนที่เอาการเอางาน 2) มติที่เพิ่มจำนวนขึ้นทุกปี ทำให้มีปริมาณสะสมจนรู้สึกว่า ดูเหมือนไร้ทางออก ปลายปิด ไม่ครบวงจร 3) การบริหารจัดการยังไม่มีรูปแบบ ระเบียบวิธีและขั้นตอนที่ชัดเจน ในเรื่องนี้ ทั้ง สช. และคณะกรรมการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (คมส. ) ได้ช่วยกันศึกษาค้นคว้าเพื่อหาทางออก ในที่สุดได้พัฒนามาเป็นโมเดล รูปแบบบริหารการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพที่ครบวงจรและมีประสิทธิผล โดยแบ่งกลุ่มมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติทั้งหมดออกเป็น 5 ประเภท ตามขั้นตอน พัฒนาการและแนวทางการขับเคลื่อน ได้แก่ กลุ่มมติสะสมทั้งหมด( T: Total) หมายความว่า เป็นจำนวนรวมของมติสมัชชาสุขภาพทั้งหมด ที่สะสมมาตั้งแต่สมัชชาครั้งที่ 1 จนถึงปัจจุบัน กลุ่มมติที่กำลังขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง ( O: On-going) หมายความว่า เป็นกลุ่มมติสมัชชาฯ ที่ภาคีเครือข่ายกำลังดำเนินการขับเคลื่อนกันอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มย่อย ซึ่งทั้งหมดนี้ คมส.

Page 51 - นโยบายสาธารณะ (Public Policy and Planing for Goverment Organization Management)

และ สช.

ขั้นตอนแรกในวัฏจักรนโยบายสาธารณะคืออะไร?

ผู้กำหนดนโยบาย(ผู้บิหาร) 2. ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ(ผู้ปฏิบัติ) 3. ผู้ได้รับผลกระทบกับนโยบาย(ประชาชน) Sources cycles ernational Perspective on policy making has the power in policy making 1. แหล่งที่มาของนโยบาย 2. นโยบายทุกนโยบาย มีวงจรที่มา 3. นโยบายต้องเกี่ยวข้องกับการต่างประเทศ อิทธิพล เงื่อนไขจากต่างประเทศหรือไม่ 4. ใครที่แท้จริงที่เป็นผู้กำหนดนโยบาย นโยบายต่างๆ Sources แหล่งที่มาของนโยบาย เช่น พระราชอำนาจและสถานะ. ผู้สำเร็จราชการ, องคมนตรี, องค์กรของรัฐ, สิทธิหน้าที่, นโยบายพื้นฐาน, รัฐสภา, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ จริยธรรม การแก้ไขรัฐธรรมนูญ cycles นโยบายทุกนโยบาย มีวงจรที่มา เช่น การสืบราชสมบัติ วาระผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ การเลือก แต่งตั้ง พ้นตำแหน่งขององคมนตรี อายุของสภา การสิ้นสุด พิจารณาพระราชบัญญัติ การพ้นตำแหน่งรัฐมนตรีทั้งคณะ พ้นตำแหน่งผู้พิพากษา ระยะเวลาพิจารณาพรบ. กำหนดระยะเวลายื่นทรัพย์สิน วาระการดำรงตำแหน่งผู้พิพากษา, องค์กรอิสระ กำหนดระยะเวลาในการยื่นทรัพย์สิน การถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่น, กำหนดระยะเวลาตามบทเฉพาะกาล ernational Perspective on policy making นโยบายต้องเกี่ยวข้องกับ อิทธิพล เงื่อนไขจากต่างประเทศหรือไม่ has the power in policy making ใครที่แท้จริงที่เป็นผู้กำหนดนโยบาย นโยบายสาธารณะ เกี่ยวข้องกับ Public policy " Problems Players and the Policy " "ปัญหา ผู้กำหนดปัญหา และนโยบาย" นโยบายสาธารณะ: รัฐศาสตร์ ต่อ รัฐประศาสนศาสตร์ 1.

ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก. ) เป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดแก่เกษตรกร รวมทั้งการให้บริการทางการเกษตรและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ปัจจุบันมี 882 ศูนย์ และ 8, 898 ศูนย์เครือข่าย 2. แปลงใหญ่ เป็นนโยบายส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร รวมถึงเชื่อมโยงไปถึงผู้ประกอบการภาคเอกชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิต มีผลผลิตต่อหน่วยเพิ่มขึ้น ผลผลิตมีคุณภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด 3. การบริหารจัดการน้ำ นโยบายจัดหาพัฒนาก่อสร้าง ปรับปรุงแหล่งน้ำ พัฒนาแหล่งกักเก็บน้ำ ขยายและเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทาน และก่อสร้างแห่งน้ำในไร่นาและชุมชน และการบรรเทาแก้ไขปัญหาน้ำท่วม และการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำ 4. แผนการผลิตข้าวครบวงจร บริหารจัดการโดยใช้หลักการตลาดนำการผลิต วางแผนการผลิตข้าวเพื่อให้เกิดความสมดุลกับความต้องการเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิตข้าว 5. Zoning by Agri-Map ก็คือการบริหารจัดการและสนับสนุนจูงใจให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย และพื้นที่ไม่เหมาะสม ให้มีการปรับเปลี่ยนพืชที่เหมาะสม เพิ่มรายได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 6.

วงจรนโยบายสาธารณะ - GotoKnow

  • Page 51 - นโยบายสาธารณะ (Public Policy and Planing for Goverment Organization Management)
  • ขั้นตอนแรกในวัฏจักรนโยบายสาธารณะคืออะไร?
  • นโยบายสาธารณะ
  • กะจะลาฉันไปใช่ไหม - Green Hell - วันที่ 5 - YouTube

แนวปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาที่สาธารณชนสนใจ ( James Anderson, 1994) 4. การจัดสรรค่านิยมของสังคมเพื่อกำหนดว่าจะทำหรือไม่ทำ ( Devid Easton, 1953) 5. แผนหรือโครงการที่มีเป้าหมายหลายทาง ค่านิยมและการปฏิบัติต่างๆ ( Lasswell & Kaplan, 1970) 6. ข้อเสนอที่มีเป้าประสงค์เพื่อใช้แก้ปัญหา ( Carl J. Friedrich, 1963) 7. กิจกรรมที่กระทำโดยรัฐบาลหรือองค์การรัฐ ( Ira Sharkansky, 1970) "The government, whether it is city, state, or federal, develops public policy in terms of law, regulations, decisions, and actions. " " "รัฐบาลไม่ว่าจะเป็นเมือง, รัฐหรือรัฐบาลกลาง, พัฒนานโยบายสาธารณะในแง่ของกฎหมาย กฎระเบียบ ในการตัดสินใจและการกระทำ " นโยบายสาธารณะ Norton (1962) ให้ความเห็นว่า "รัฐประศาสนศาสตร์ จะ ต้องสนใจศึกษา เกี่ยวกับ ระบบการเมือง รัฐธรรมนูญ และกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับที่มาของปัญหานโยบาย และเป้าประสงค์ของนโยบายทางด้านการบริหารจะต้องนำไปปฏิบัติให้บรรลุอย่างมีประสิทธิภาพ" ค่านิยมของสังคมในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ กฎหมายที่เป็นรากฐานในการก่อตั้งสถาบันทางการเมือง 1. สถาบันทางการเมือง 2.

กระบวนการวิเคราะห์นโยบายของฮอกวูดด์และกันน์ ตามทัศนะของฮอกวูดด์และกันน์ (Brian W. Hogwood & Lewis A. Gunn. 1984; สมบัติ ธารงธัญวงศ์. 2554: 279) เห็นว่าการ วิเคราะห์นโยบายควรประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ E-Books MCURK 2. ���������������������������� 43 11/20/19 11:59 AM

38 ธนาคารสินค้าเกษตร เพิ่มสัดส่วนหนี้สินต่อทรัพย์สินรวม +0. 18 นโยบายอื่นๆ ที่เหลือไม่พบว่าการทำให้สัดส่วนหนี้สินต่อทรัพย์สินรวมของครัวเรือนเกษตรเปลี่ยนแปลง เมื่อนำรายได้สุทธิคูณกับจำนวนครัวเรือนเกษตรกรที่ได้รับประโยชน์จากนโยบาย สมมติให้ครัวเรือนเกษตร เท่ากับ 8. 06 ล้านครัวเรือน การบริหารจัดการน้ำ (26. 23% ของครัวเรือนเกษตรเข้าถึงนโยบาย สามารถเพิ่มมูลค่าได้ +378, 221 ล้านบาท/ปี แผนการผลิตข้าวครบวงจร (3, 497, 827 ล้านครัวเรือน) ลดมูลค่าลง -150, 959 ล้านบาท/ปี Zoning by Agri-Map (1. 80% ของครัวเรือนเกษตรเข้าถึงนโยบาย) ลดมูลค่าลง -4, 785 ล้านบาท/ปี ธนาคารสินค้าเกษตร (4. 129% ของครัวเรือนเกษตรเข้าถึงนโยบาย ลดมูลค่าลง 41, 790 ล้านบาท/ปี รศ. วิษณุ กล่าวว่า มูลค่าของผลกระทบจากทั้ง 8 นโยบาย เท่ากับ 180, 686. 25 ล้านบาท/ปี เมื่อนำมาหักลบงบประมาณที่ใช้จ่ายตลอด 3 ปี 8 นโยบายสร้างมูลค่าผลกระทบเชิงบวก รวม +106, 908 ล้านบาท โดยสรุปแม้ว่าโดยภาพรวม 8 นโยบายจะสร้างผลกระทบเชิงบวก แต่จะพบว่าทั้งหมดเกิดขึ้นจากนโยบายการบริหารจัดการน้ำเท่านั้น ดังนั้นควรพิจารณาหาแนวทางปรับปรุงนโยบายอื่นๆ ให้ดียิ่งขึ้น ข้อเสนอ 1. )