มาตรฐาน Iso 9000 2000 | Sunisa Ounpim: ความหมาย และความสำคัญของมาตรฐาน Iso 9000

โครงสร้างของมาตรฐาน ISO 9000: 2000 องค์กรระหว่างประเทศ ว่าด้วยมาตรฐาน หรือ ISO (International Organization for Standrdizaton) ได้ประกาศใช้มาตรฐานระบบ การบริหารงานคุณภาพ ISO 9000 ฉบับแก้ไขเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2543 โดยโครงสร้างใหม่ของมาตรฐาน ISO 9000: 2000 ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 3 ฉบับ คือ 1. ISO 9000 เป็นฉบับให้หลักการพื้นฐาน ของระบบการบริหารงานคุณภาพ และให้นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง 2. ISO 9001 เป็นอนุกรมที่รวม ISO 9001, ISO 9000 และ ISO 9003 ปี 1994 เข้าไว้ด้วยกัน รวมทั้งยังให้เห็นถึง ความสามารถในการทำตามความต้องการของลูกค้า และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และนำหลักการของการบริหารคุณภาพ (Quality Management Principles - QMP) มาใช้ 3. ISO 9004 เป็นฉบับที่ปรับปรุง ISO 9004 - 1: 1994 เพื่อให้แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลและเพิ่มศักยภาพ ในการพัฒนาปรับปรุง นอกเหนือจากข้อกำหนดใน ISO 9000: 2000 นอกจากอนุกรมย่อย 3 ฉบับแล้ว ISO 9000: 2000 ยังมี เลขอนุกรมที่เกี่ยวข้องอีก 1 ฉบับ คือ ISO 19011 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้เป็นแนวทางในการตรวจประเมินระบบการบริหารงานคุณภาพ และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมซึ่งคาดว่ามาตรฐาน ISO 9000, ISO 9001 และ ISO 9004 ฉบับปี 2000 ISOได้จัดพิมพ์ประกาศ ใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2543 ที่ผ่านมา โดยมาตรฐานทั้ง 3 ฉบับ ISO ได้พิมพ์เป็น 3 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษารัสเซีย 4.

  1. 5. โครงสร้างของมาตรฐาน ISO 9000 - TWOTOnedUOSStudy
  2. Relatif

5. โครงสร้างของมาตรฐาน ISO 9000 - TWOTOnedUOSStudy

ISO 10011 หรือ ISO 19011 เป็นอนุกรมที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับมาตรฐานผู้ตรวจประเมิน

มาตรฐาน iso 9000 2000 quality management system มาตรฐาน iso 9000 2000 requirements

หัวข้อเรื่อง มาตรฐาน ISO 9000: 2000 แนวคิด โครงสร้างอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000: 2000 เป็นโครงสร้างของระบบบริหารงานคุณภาพ ซึ่งประกอบด้วย ISO 9000 หลักการพื้นฐานและคำศัพท์ ISO 9001 ข้อกำหนดระบบบริหารงานคุณภาพ และ ISO 9004 เป็นข้อเสนอแนะปรับปรุงงาน ข้อกำหนดของระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001 เป็น ข้อกำหนดที่รวมเอาข้อกำหนด ISO 9000, 9001, 9003 ของปี ค. ศ. 1994 ที่ครอบคลุมการดำเนินงาน ทุกประเภทของภาคอุตสาหกรรมและภาคการบริการ สาระการเรียนรู้ 1. โครงสร้างอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000: 2000 2. ข้อกำหนดระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001: 2000 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อธิบายโครงสร้างอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000: 2000 ได้ 2. อธิบายข้อกำหนดของระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001: 2000 ได้ 3. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ผู้สอนสามารถสังเกตเห็นได้ ในด้านความมีมนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความมีวินัย ความรู้รักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที YouTube Video YouTube Video

เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพที่สามารถนำไปใช้กับกิจกรรมทุกประเภท 3. เป็นมาตรฐานที่นานาชาติยอมรับ และใช้เป็นมาตรฐานของประเทศ 4. เป็นระบบการบริหารคุณภาพที่เกี่ยวกับทุกแผนกงาน และทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วม 5. เป็นการบริหารคุณภาพจากขั้นตอนในกระบวนการนั้น ๆ 6. เป็นการบริหารที่ให้ความสำคัญในเรื่องของเอกสารการปฏิบัติงาน โดยนำสิ่งที่มีการปฏิบัติอยู่มาทำเป็นเอกสาร แล้วจัดเป็นหมวดหมู่มีระบบทำให้นำไปใช้งานได้สะดวกและเกิดประสิทธิภาพ 7. เป็นระบบงานที่เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขปรับปรุงขั้นตอนในการปฏิบัติงาน วิธีการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการทำงานได้ตลอดเวลา 8. เป็นมาตรฐานขององค์กรทั้งหมด 9. เป็นมาตรฐานคุณภาพที่ประเทศไทยรับรองเป็นมาตรฐานคุณภาพ มอก. 9000 ประโยชน์ของ ISO 9000 ในการนำระบบ ISO 9000 มาใช้ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อพนักงานที่ปฎิบัติงาน ต่อองค์กร หรือบริษัท รวมทั้งผู้ซื้อก็ได้รับประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ประโยชน์ต่อพนักงาน 1) มีส่วนร่วมในการดำเนินงานระบบคุณภาพ 2) ทำให้เกิดความพอใจในการปฎิบัติงาน 3) พนักงานจิตสำนึกในเรื่องของคุณภาพมากขึ้น 4) การปฎิบัติงานมีระบบ และมีขอบเขตที่ชัดเจน 5) พัฒนาการทำงานเป็นทีม หรือเป็นกลุ่ม 2.

Relatif

มาตรฐาน iso 9000 2000 2b09wm manuals

1 บททั่วไป 1. 2 การประยุกต์ใช้ ข้อ2 มาตรฐานอ้างอิง Normative reference ข้อ3 คำศัพท์และคำนิยาม Terms and definitions ข้อ 4 ระบบการบริหารคุณภาพ Quality Management System 4. 1ข้อกำหนดทั่วไป 4. 2 ข้อกำหนดด้านการเอกสาร 4. 2. 1 บททั่วไป 4. 2 คู่มือคุณภาพ 4. 3 การควบคุมเอกสาร 4. 4 การควบคุมบันทึก ข้อ 5 ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร Management rasponsibility 5. 1 ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร 5. 2 การมุ่งเน้นที่ลูกค้า 5. 3 นโยบายคุณภาพ 5. 4 การวางแผน 5. 5 ความรับผิดชอบ อำนาจหน้าที่ และการสื่อสาร 5. 5. 1 ความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ 5. 2 ตัวแทนฝ่ายบริหาร 5. 3 การสื่อสารภายในองค์กร 5. 6 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร 5. 6. 1 บททั่วไป 5. 2 ข้อมูลสำหรับการทบทวน 5. 3 ผลจากการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ข้อ 6 การบริหารทรัพยากร Resource management 6. 1 การจัดสรรทรัพยากร 6. 2 ทรัพยากรบุคคล 6. 3 โครงสร้างพื้นฐาน 6. 4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน ข้อ 7 กระบวนการผลิต หรือการให้บริการ Product realization 7. 1 การวางแผนกระบวนการผลิต 7. 2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า 7. 1 การพิจารณาข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ 7. 2 การทบทวนข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ 7.

  1. มาตรฐาน iso 9000 2000 quality management systems
  2. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ได้จัดทำข่าว สคบ. ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 3 เรื่อง
  3. มาตรฐาน iso 9000 2000 relatif
  4. มาตรฐาน iso 9000 2000 คือ
  5. สถิติ ลิเวอร์พูล พบ เซาแธมป์ตัน
  6. มาตรฐาน iso 9000 2000 principles consist of all of the following except
  7. มาตรฐาน iso 9000 2000 quality certification
  8. มาตรฐาน iso 9000 2000 standards
  9. มาตรฐาน iso 9000 2000 quality management systems fundamentals and vocabulary
  10. มาตรฐาน iso 9000 2000 240ca manuals
  11. มาตรฐาน iso 9000 2000 2d19wm manuals
  12. เฟรม รถ pcx ราคา

4 การทบทวนการออกแบบและการพัฒนา 7. 5 การทวนสอบออกแบบและการพัฒนา 7. 6 การรับรอบการออกแบบและการพัฒนา 7. 7 การควบคุมการเปลี่ยนแปลงในการออกแบบและการพัฒนา 7. 4 การจัดซื้อ 7. 1 กระบวนการจัดซื้อ 7. 2 ข้อมูลในการจัดซื้อ 7. 3 การทวนสอบผลิตภัณฑ์ที่จัดซื้อ 7. 5 การผลิตและการบริการ 7. 1 การควบคุมการผลิตและการบริการ 7. 2 การรับรองกระบวนการผลิตและการบริการ 7. 3 การชี้บ่งและการสอบกลับ 7. 4 ทรัพสินของลูกค้า 7. 5 การรักษาผลิตภัณฑ์ 7. 6 การควบคุมเครื่องมือเฝ้าระวังและการตรวจวัด 8. การวัดการวิเคราะห์และการปรับปรุง 8. 1 ทั่วไป 8. 2 การเฝ้าระวังและการวัด 8. 1 ความพึงพอใจของลูกค้า 8. 2 การตรวจติดตามภายใน 8. 3 การเฝ้าระวังและการวัดกระบวนการ 8. 4 การเฝ้าระวังและการวัดผลิตภัณฑ์ 8. 3 การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามกำหนด 8. 4 การวิเคราะห์ข้อมูล 8. 5 การปรับปรุง 8. 1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 8. 2 การปฏิบัติการแก้ไข 8. 3 การปฏิบัติการป้องกัน

ระบบบริหารงานคุณภาพ 4. 1 ข้อกำหนดทั่วไป 4. 2 ข้อกำหนดด้านเอกสาร 4. 2. 1 ทั่วไป 4. 2 คู่มือคุณภาพ 4. 3 การควบคุมเอกสาร 4. 4 การควบคุมบันทึก 5. ความรับผิดชอบด้านการบริหาร 5. 1 ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร 5. 2 การให้ความสำคัญแก่ลูกค้า 5. 3 นโยบายคุณภาพ 5. 4 การวางแผน 5. 4. 1 วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ 5. 2 การวางแผนระบบบริหารงานคุณภาพ 5. 5 ความรับผิดชอบอำนาจหน้าที่และการสื่อสาร 5. 5. 1 ความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ 5. 6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร 5. 6. 1 ทั่วไป 5. 2 ข้อมูลในการทบทวน 5. 3 ผลจากการทบทวน 6. การจัดหาทรัพยากร 6. 1 การจัดหาทรัพยากร 6. 2 ทรัพยากรบุคคล 6. 1 ทั่วไป 6. 2 ความรู้ความสามารถ จิตสำนึก และการฝึกอบรม 6. 3 โครงสร้างพื้นฐาน 6. 4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน 7. การจัดทำเป็นผลิตภัณฑ์ / บริการ 7. 1 การวางแผนการจัดทำเป็นผลิตภัณฑ์ / บริการ 7. 2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า 7. 1 การกำหนดข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ 7. 2 การทบทวนข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ 7. 3 การสื่อสารกับลูกค้า 7. 3 การออกแบบและการพัฒนา 7. 3. 1 การวางแผนการออกแบบและการพัฒนา 7. 2 ข้อมูลจากการออกแบบและการพัฒนา 7. 3 ผลจากการออกแบบและการพัฒนา 7.