ตรวจ ร่างกาย เบื้องต้น | การตรวจร่างกายเบื้องต้น (Physical Examination) | ข้อมูลรายละเอียดมากที่สุดเกี่ยวกับการ ตรวจ ร่างกาย ทุก ระบบ

สุขภาพมักเป็นสิ่งที่หลายคนมองข้าม และมักจะมองเห็นเมื่อเป็นอะไรขึ้นซักอย่าง บางคนมารู้ตอนทรมานและสายเกินแก้ซะแล้ว วันนี้เราเลยหาวิธีเช็กร่างกายด้วยตัวเองแบบเบื้องต้น ว่าสุขภาพเรามีอะไรผิดปกติไหม (แต่ทางที่ดีก็ควรตรวจเช็กสุขภาพอย่างละเอียดเป็นประจำทุกปีด้วยนะ? ) สมดุลของร่างกาย สมดุลของร่างกายหรือค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ค่านี้จะช่วยบอกว่าเรามีรูปร่างและน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือไม่ • น้อยกว่า 18. 5 แปลว่า ผอมเกินไป • มากกว่าหรือเท่ากับ 18.

  1. การตรวจร่างกายเบื้องต้น | MindMeister Mind Map
  2. ตรวจสุขภาพเบื้องต้น จำเป็นแค่ไหนที่ต้องตรวจ - พบแพทย์
  3. ตรวจร่างกายเบื้องต้น
  4. การตรวจร่างกายเบื้องต้น 02 ~ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต๊ำ
  1. ตรวจสุขภาพเบื้องต้น จำเป็นแค่ไหนที่ต้องตรวจ - พบแพทย์
  2. Barton vodka ราคา
  3. รีวิว โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค Century Park Hotel @ กรุงเทพ | อัปเดตใหม่โรงแรม เซ็น จู รี่ อนุสาวรีย์เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
  4. ตรวจร่างกายเบื้องต้น
  5. การตรวจร่างกายเบื้องต้น 03 ~ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต๊ำ

ตรวจการทำงานของไต (Creatinine, Bun) ไตเป็นหนึ่งในอวัยวะที่ทำงานหนักที่สุดของร่างกาย เพราะในหนึ่งวันต้องกรองของเสียในเลือดมากกว่า 180 ลิตร ออกไปทางปัสสาวะ ดังนั้นการตรวจการทำงานของไต จึงทำได้โดยการวัดระดับ Creatinine ในเลือด ซึ่งเป็นของเสียที่ไตจะต้องขับทิ้ง หากมีปริมาณ Creatinine สูง อาจเป็นสัญญาณที่ไม่ดีของโรคไตก็ได้นะ 10. ตรวจการทำงานของตับ (SGPT, SGOT) ตับมีหน้าที่คล้ายกับไส้กรองของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นสารพิษ เชื้อโรค ที่เรากินเข้าไป ตับจะทำหน้าที่กรองสิ่งเหล่านั้นแล้วใช้เอ็นไซม์กำจัดสารพิษทิ้ง ซึ่งการตรวจระดับเอ็นไซม์ในตับ (ALT) ก็สามารถบอกสภาพของตับได้ว่ายังสบายดีอยู่ไหม หากพบสัญญาณที่อันตรายต่อตับ จะได้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ทัน อ่านเพิ่มเติม: ตรวจตับ อาจจับสัญญาณอันตรายได้ตั้งแต่ต้น! 11. ตรวจหาระดับกรดยูริคในเลือด (Uric Acid) การตรวจหากรดยูริคในเลือดจะช่วยให้เราควบคุมพฤติกรรมการกินได้ เพราะกรดยูริคส่วนหนึ่งมาจากอาหารการกิน เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาหารและยาบางชนิด เป็นต้น หากมีกรดยูริคสูงเกินไป อาจมีผลทำให้กรดยูริคไปจับตัวกับโซเดียมในเลือดจนเกิดเป็นเกลือยูเรต (Monosodium urate) ซึ่งเกลือยูเรตอาจไปสะสมตามข้อต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เกิดอาการปวดขึ้นมาได้ 12.

การตรวจร่างกายเบื้องต้น | MindMeister Mind Map