หา เลข ฐาน 2 | 3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 2

111 2 = (1 x 2 -1) + (1 x 2 -2) + (1 x 2 -3) = (1 x 0. 5) + (1 x 0. 25) + (1 x 0. 125) = 0. 5 + 0. 25 + 0. 125 = 0. 875 ตอบ 0. 111 2 = 0. 875 หลักการคิด โจทย์ตัวอย่างนี้เป็นกรณีของเลขทศนิยมจะต้องกระจายเลขหลังจุดทศนิยมไปทางขวามือเพื่อให้ง่ายและพลาดน้อยลง 1. นำเลขฐานสองที่กระจายแล้ว คูณกับค่าประจำหลักในแต่ตำแหน่งที่ตัวเลขนั้นปรากฏอยู่ คือ เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 1 คือ 1 คูณกับค่าประจำหลักหลังจุดทศนิยม ตำแหน่งที่ 1 คือ 2 -1 เขียนได้เป็น 1 x 2 -1 เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 2 คือ 1 คูณกับค่าประจำหลักหลังจุดทศนิยม ตำแหน่งที่ 2 คือ 2 -2 เขียนได้เป็น 1 x 2 -2 เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 3 คือ 1 คูณกับค่าประจำหลักหลังจุดทศนิยม ตำแหน่งที่ 3 คือ 2 -3 เขียนได้เป็น 1 x 2 -3 2. หาค่าผลคูณของแต่ละวงเล็บ และนำผลคูณที่ได้มาบวกกัน ตัวอย่างที่ 3. 8 จงแปลง 0. 0101 2 เป็นเลขฐานสิบ วิธีทำ 0. 0101 2 = (0 x 2 -1) + (1 x 2 -2) + (0 x 2 -3) + (1 x 2 -4) = (0 x 0. 25) + (0 x 0. 125) + (1 x 0. 0625) = 0 + 0. 0625 = 0. 3125 ตอบ 0. 0101 2 = 0. 3125 1. กระจายเลขฐานสองหลังจุดทศนิยมไปทางขวามือ แล้วนำมาคูณกับค่าประจำหลักในแต่ละตำแหน่ง คือ เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 1 คือ 0 คูณกับค่าประจำหลักหลังจุดทศนิยม ตำแหน่งที่ 1 คือ 2 -1 เขียนได้เป็น 0 x 2 -1 เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 2 คือ 1 คูณกับค่าประจำหลักหลังจุดทศนิยม ตำแหน่งที่ 1 คือ 2 -2 เขียนได้เป็น 1 x 2 -2 เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 3 คือ 0 คูณกับค่าประจำหลักหลังจุดทศนิยม ตำแหน่งที่ 1 คือ 2 -3 เขียนได้เป็น 0 x 2 -3 เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 4 คือ 1 คูณกับค่าประจำหลักหลังจุดทศนิยม ตำแหน่งที่ 1 คือ 2 -4 เขียนได้เป็น 1 x 2 -4 ตัวอย่างที่ 3.

  1. 3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 2
  2. 2.2 การแปลงเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 2

Posted: สิงหาคม 18, 2010 in Uncategorized 1. )ให้นักเรียนหาความหมายของเลขฐาน10และเลขฐาน2 ตอบ1. เลขฐานสอง ( อังกฤษ: binary numeral system) หมายถึง ระบบเลข ที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น ตอบ 2. เลขฐานสิบ หรือ ทศนิยม (Decimal) หมายถึง ระบบตัวเลขที่มีตัวเลข 10 ตัว คือ 0 – 9 2. )

ตัวอย่างโค้ดภาษาซี ใน การแปลงเลขฐานสิบ 10 เป็น เลขฐานสอง 2 ซึ่งการทำงานจะนำเลขฐานสิบ ที่ป้อนเข้ามาทำการ Mod (หารเอาเศษ) แล้วเก็บเศษที่ได้ไว้ในตัวแปร Array ตำแหน่งที่ 0 จากนั้นนำตัวเลขฐานสิบ หารด้วย 2 เพื่อลดค่าตัวเลขฐานสิบลงเรื่อย ๆ และเก็บไปจนกว่าเลขฐานสิบที่ป้อนเข้ามานั้นเป็นศูนย์ จากนั้นก็จะนำค่าในตัว แปร Array มาแสดงผล โดยจะนำค่าจาก Array ในตำแหน่งสุดท้ายแสดงผล ไปจนถึงตำแหน่งแรกคือ Index ที่ 0 ตัวอย่างโค้ด /*************************************************** * Author: CS Developers * Author URI: * Facebook: ***************************************************/ #include int main() { int dec; int bin[100]; int i=0, j; printf(" Input Decimal value: "); scanf("%d", &dec); do bin[i] = dec% 2; dec /= 2; i++;}while(dec > 0); printf("\n Binary value is "); for(j = i - 1; j >= 0; j--) printf("%d", bin[j]);} return 0;} ผลลัพธ์ ตัวอย่างภาษาซี ตัวอย่างโค้ด ภาษาซี แปลงเลขฐาน โค้ดภาษาซี

  • หา เลข ฐาน 2.3
  • ให้เช่าห้องพัก ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ – ปากเกร็ด | Livinginsider
  • โปรแกรมแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง แปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ออนไลน์
  • ขาย หลอด ไฟ รถยนต์ ชั้น 1
  • หา เลข ฐาน 2 download
  • 3.1 การบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 2
  • กำหนดการ เดินทาง ท่องเที่ยว ประวัติศาสตร์อยุธยา

กรณีเป็นเลขทศนิยม ให้เขียนจุดให้ตรงกันก่อนแล้วทำการบวกเลขจากด้านขวามือสุด โดยใช้หลักของการบวกเช่นเดียวกับการบวกเลขจำนวนเต็ม จะนำหลักการดังกล่าวข้างต้น มาใช้ในการบวกเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก ขอให้ศึกษาในตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าที่ 3. 2 จงหาผลบวกของ 10001 2 + 1101 2 วิธีทำ 1 ตัวทด 1 0 0 0 1 2 ตัวตั้ง + 1 1 0 1 2 ตัวบวก 1 1 1 1 0 2 ผลลัพธ์ 10001 2 + 1101 2 = 11110 2 หลักการคิด เขียนเลขให้ตรงกันโดยเรียงจากขวามือไปซ้ายมือ และทำการบวกด้านขวาสุดก่อนดังนี้: 1 + 1 = 2 ใส่ผลลัพธ์ยังไม่ได้เนื่องจากผลบวกได้เท่ากับเลขฐาน ต้องนำ 2 ไปหารก่อน 2 ÷ 2 = 1 เศษ 0 นำเศษคือ 0 มาเขียนเป็นผลลัพธ์และผลที่หารได้คือ 1 เป็นตัวทด: 0 + 0 = 0 + 1 (ตัวทด) = 1 ใส่ที่ผลลัพธ์: 0 + 1 = 1 ใส่ที่ผลลัพธ์: 0 + 1 = 1 ใส่ที่ผลลัพธ์: 1 + 0 = 1 ใส่ที่ผลลัพธ์ ตัวอย่างที่ 3. 3 จงหาผลบวกของ 101. 11 2 + 110. 101 2 วิธีทำ 1 1 1 ตัวทด 1 0 1. 1 1 0 2 ตัวตั้ง + 1 1 0. 1 0 1 2 ตัวบวก 1 1 0 0. 0 1 1 2 ผลลัพธ์ 101. 11 2 + 110. 101 2 = 1100.

กระจายเลขฐานสองจากโจทย์โดยกระจายตัวเลขจากขวามือไปซ้ายมือ 2. นำเลขฐานสองที่กระจายแล้วคูณกับค่าประจำหลักในแต่ละตำแหน่ง ดังนี้ ตำแหน่งที่ 1 คือเลข 1 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 1 คือ 2 0 เขียนได้เป็น 1 x 2 0 ตำแหน่งที่ 2 คือเลข 0 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 2 คือ 2 1 เขียนได้เป็น 1 x 2 1 ตำแหน่งที่ 3 คือเลข 1 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 3 คือ 2 2 เขียนได้เป็น 1 x 2 2 ตำแหน่งที่ 4 คือเลข 1 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 4 คือ 2 3 เขียนได้เป็น 1 x 2 3 ตำแหน่งที่ 5 คือเลข 1 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 5 คือ 2 4 เขียนได้เป็น 1 x 2 4 3. หาค่าผลคูณแต่ละวงเล็บ แล้วนำมาบวกกัน คือ 1 + 0 + 4 + 8 + 16 ได้คำตอบ คือ 29 ตัวอย่างที่ 3. 5 จงแปลง 1011 2 ให้เป็นเลขฐานสิบ วิธีทำ 1011 2 = (1 x 2 0) + (1 x 2 1) + (0 x 2 2) + (1 x 2 3) = (1 x 1) + (1 x 2) + (0 x 4) + (1 x 8) = 1 + 2 + 0 + 8 = 11 ตอบ 1011 2 = 11 2. นำเลขฐานสองจากข้อ 1 มาคูณกับค่าประจำหลักในแต่ละตำแหน่ง ดังนี้ ตำแหน่งที่ 2 คือเลข 1 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 2 คือ 2 1 เขียนได้เป็น 1 x 2 1 ตำแหน่งที่ 3 คือเลข 0 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 3 คือ 2 2 เขียนได้เป็น 1 x 2 2 3.

2.2 การแปลงเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

หา เลข ฐาน 2.5 หา เลข ฐาน 2.2

ตัวอย่างที่ 3. 8 จงหาผลลบของ 9281 – 4275 วิธีทำ 9 2 8 1 - 4 2 7 5 5 0 0 6 9281 – 4275 = 5006 จากตัวอย่างของการลบของเลขฐานสิบ จะนำหลักการนี้ไปใช้ในการลบเลขฐานสองเลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก หลักการลบของเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก มีวิธีการดังนี้ 1. กรณีเลขจำนวนเต็มให้เขียนตัวตั้งและตัวลบให้ตรงกัน โดยเรียงจากขวามือไปซ้ายมือและทำการลบโดย เริ่มจากด้านขวาสุดก่อน 2. ตัวตั้งมากกว่าตัวลบหรือเท่ากับตัวลบให้ลบกันตามปกติ 3. ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ การลบนั้นต้องมีการยืมเลขข้างหน้ามา และค่าที่ยืมมามีค่าเท่ากับเลขฐานนั้น และค่า ของเลขที่ถูกยืมจะมีค่าลดลงไป 1 แล้วทำการลบกัน 4. กรณีเป็นเลขทศนิยม ให้เขียนจุดให้ตรงกันและทำการลบเช่นเดียวกับการลบเลขจำนวนเต็ม จะนำ หลั กการ ดังกล่าวข้างต้น มาใช้ในการลบเลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิบหก ขอให้ศึกษาตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 3. 9 จงหาผลลบของ 10110 2 - 1101 2 วิธีทำ 1 0 1 1 0 2 - 1 1 2 1 2 1 0 0 1 2 10110 2 – 1101 2 = 10001 2 หลักการคิด: จัดตัวตั้งและตัวลบให้ตรงกันโดยเรียงจากขวามือไปซ้ายมือ และทำการลบกันโดยเริ่มจากด้านขวาสุดก่อนดังนี้: 0 – 1 ไม่ได้ เพราะตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบต้องไปยืมหลักข้างหน้า ค่าที่ยืมมาเท่ากับเลขฐานคือมีค่าเท่ากับ 2 จะได้ 2 – 1 = 1 ใส่ที่ผลลัพธ์ และเลขที่ถูกยืมมาจะเหลือ 0: 0 – 0 = 0 ใส่ที่ผลลัพธ์: 1 – 1 = 0 ใส่ที่ผลลัพธ์: 0 – 1 ไม่ได้ ต้องไปยืมหลักข้างหน้ามา 1 ค่าที่ยืมมาเท่ากับเลขฐานคือมีค่าเท่ากับ 2 จะได้ 2 – 1 = 1 ใส่ที่ผลลัพธ์ และเลขที่ถูกยืมมาจะเหลือ 0 ตัวอย่างที่ 3.

9 จงแปลง 1001. 101 2 เป็นเลขฐานสิบ วิธีทำ 1001. 101 2 = (1 x 2 0) + (0 x 2 1) + (0 x 2 2) + (1 x 2 3) + (1 x 2 -1) + (0 x 2 -2) + (1 x 2 -3) = (1 x 1) + (0 x 2) + (0 x 4) + (1 x 8) + (1 x 0. 5) + (0 x 0. 125) = 1 + 0 + 0 + 8 + 0. 5 +0 + 0. 125 = 9. 625 ตอบ 1101. 101 2 = 9. 625 หลักการคิด โจทย์ตัวอย่างนี้มีทั้งเลขจำนวนเต็มและเลขทศนิยม วิธีทำใช้หลักการคิดเลขจำนวนเต็มก่อนแล้วตามด้วยเลขทศนิยม หรือคิดเลข ทศนิยมก่อนแล้วตามด้วยเลขจำนวนเต็มก็ได้ คำตอบจะำด้เท่ากัน ในที่นี้จะคิดเลขจำนวนเต็มก่อนแล้วตามด้วยเลขทศนิยม คือ 1. กระจายเลขจำนวนเต็มก่อน โดยกระจายจากขวามือไปซ้ายมือ คือ ตำแหน่งที่ 1 คือ 1 คูณด้วยค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 1 คือ 2 0 เขียนได้เป็น 1 x 2 0 ตำแหน่งที่ 2 คือ 0 คูณด้วยค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 2 คือ 2 1 เขียนได้เป็น 0 x 2 1 ตำแหน่งที่ 3 คือ 0 คูณด้วยค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 3 คือ 2 2 เขียนได้เป็น 0 x 2 2 ตำแหน่งที่ 4 คือ 1 คูณด้วยค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 4 คือ 2 3 เขียนได้เป็น 1 x 2 3 2. กระจายเลฐานสองหลังจุดทศนิยมไปทางขวามือ คือ เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 1 คือ 1 คูณด้วยค่าประจำหลักหลังจุด ทศนิยมตำแหน่งที่ 1 คือ 2 -1 เขียนได้เป็น 1 x 2 -1 เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 2 คือ 0 คูณด้วยค่าประจำหลักหลังจุด ทศนิยมตำแหน่งที่ 2 คือ 2 -2 เขียนได้เป็น 0 x 2 -2 เลขหลังจุดทศนิยมตำแหน่งที่ 3 คือ 1 คูณด้วยค่าประจำหลักหลังจุด ทศนิยมตำแหน่งที่ 3 คือ 2 -3 เขียนได้เป็น 1 x 2 -3 3.

10 จงแปลง 11100. 1010 2 เป็นเลขฐานสิบ วิธีทำ 11100. 1010 2 = (0 x 2 0) + (0 x 2 1) + (1 x 2 2) + (1 x 2 3) + (1 x 2 4) + (1 x 2 -1) + (0 x 2 -2) + (1 x 2 -3) + (0 x 2 -4) = (0 x 1) + (0 x 2) + (1 x 4) + (1 x 8) + (1 x 16) +(1 x 0. 125) + (0 x 0. 0625) = 0 + 0 4 + 8 + 16 + 0. 5 + 0 + 0. 125 + 0 = 28. 625 ตอบ 11100. 1010 2 = 28. 625 ตำแหน่งที่ 1 คือ 0 คูณด้วยค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 1 คือ 2 0 เขียนได้เป็น 0 x 2 0 ตำแหน่งที่ 3 คือ 1 คูณด้วยค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 3 คือ 2 2 เขียนได้เป็น 1 x 2 2 ตำแหน่งที่ 5 คือ 1 คูณด้วยค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 5 คือ 2 4 เขียนได้เป็น 1 x 2 4 4. นำผลคูณที่ได่มาบวกกัน คือ 4 + 8 + 16 + 0. 125 ได้ คำตอบคือ 28. 625 3. 2 การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ หลักการคิดเหมือนกับกรณีของเลขฐานสิบและเลขฐานสอง คือใช้ค่าประจำตัวเลขแต่ละตัวคูณค่าประจำหลักในแต่ละตำแหน่งที่ตัวเลขนั้นปรากฏอยู่ แต่เป็นเลขฐานแปด ค่าประจำหลักของฐานแปด คือ..., 8 -2, 8 -1, 8 0, 8 1, 8 2,... แบ่งการแปลงเลขฐานแปดเป็นสองกรณี คือ กรณีที่ 1 เลขฐานแปดเลขจำนวนเต็ม การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบทำเหมือนกับแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ แต่เปลี่ยนค่าประจำหลักเป็น 8 0, 8 1, 8 2, 8 3,... 1.

7 จงหาผลบวกของ ABDF. 59 16 + 16 วิธีทำ 1 1 1 1 1 ตัวทด A B D F. 5 9 16 10 11 13 15. 5 9 16 ตัวตั้ง + 8 C D. A D 16 8 12 13. 10 15 16 ตัวบวก 11 4 10 13. 0 8 B 4 A D. 0 8 16 ผลลัพธ์ ABDF. 59 16 + 16 = B4AD.

หาค่าผลคูณแต่ละวงเล็บ แล้วนำมาบวกกัน คือ 1 + 2 + 0 + 8 ได้คำตอบคือ 11 ตัวอย่างที่ 3. 6 จงแปลง 100101 2 ให้เป็นเลขฐานสิบ วิธีทำ 100101 2 = (1 x 2 0) + (0 x 2 1) + (1 x 2 2) + (0 x 2 3) + (0 x 2 4) + (1 x 2 5) = (1 x 1) + (0 x 2) + (1 x 4) + (0 x 8) + (0 x 16) + (1 x 32) = 1 + 0 + 4 + 0 + 0 + 32 = 37 ตอบ 100101 2 = 37 ตำแหน่งที่ 4 คือเลข 0 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 4 คือ 2 3 เขียนได้เป็น 0 x 2 3 ตำแหน่งที่ 5 คือเลข 0 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 5 คือ 2 4 เขียนได้เป็น 1 x 2 4 ตำแหน่งที่ 6 คือเลข 1 คูณกับค่าประจำหลักตำแหน่งที่ 6 คือ 2 5 เขียนได้เป็น 1 x 2 5 3. หาค่าผลคูณแต่ละวงเล็บ แล้วนำมาบวกกัน คือ 1 + 4 + 32 ได้คำตอบคือ 37 กรณีที่ 2 เลขฐานสองเป็นเลขทศนิยม 1. กระจายเลขฐานสองโดยกระจายตัวเลขหลังจุดทศนิยมไปทางขวามือ 2. เขียนค่าประจำหลักในแต่ละตำแหน่งที่ตัวเลขนั้นปรากฏอยู่ โดยเรียงจาก 2 -1, 2 -2, 2 -3,... นำเลขฐานสองมาคูณกับค่าประจำหลักในแต่ละตำแหน่ง 4. หาค่าผลคูณของแต่ละวงเล็บ 5. นำผลคูณที่ได้มาบวกกัน จะได้คำตอบของการแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ตัวอย่างที่ 3. 7 จงแปลง 0. 111 2 เป็นเลขฐานสิบ วิธีทำ 0.